การศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทย
Abstract
บทคัดย่อ
ความนำ
การศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทยในบทความนี้จะใช้แนวคิดที่ สำคัญ 3 ประการ คือ
- การให้ความหมายและแนวคิดในการศึกษาสังคมเริ่มจากนัก วิชาการตะวันตกที่สนใจศึกษาวิจัยสังคมไทย และเป็นแรงกระตุ้นให้ วิชาการไทยศึกษาสังคมไทยโดยใช้วิธีการศึกษาอย่างเป็นระบบ
- การให้ความหมายและแนวคิดในการศึกษาวัฒนธรรมไทยแรก เกิดจากความสนใจศึกษาวัฒนธรรมไทยของนักวิชาการตะวันตก และเป็น แรงกระตุ้นให้นักวิชาการไทยศึกษาวัฒนธรรมไทยโดยใช้วิธีการศึกษาอย เป็นระบบ
- การศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทยทำให้เข้าใจลักษณะสังคมและ วัฒนธรรมไทยในสมัยจารีต สมัยใหม่และสมัยพัฒนาว่าสังคม และวัฒนธรรม ไทยมีการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวให้เหมาะสมกับยุคสมัยตลอดเวลา
จากแนวคิดทั้ง 3 ประการดังกล่าวจะชี้ให้เห็นถึงพัฒนาการศึก สังคมไทยซึ่งเป็นการศึกษาอย่างมีระบบเมื่อ 70 ปีมาแล้ว จากนักวิชาการ ตะวันตกคือโครงการวิจัยคอร์แนล-ประเทศไทย (The Cornell Thai-land Project) ซึ่งก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2490 และได้เริ่มงานในปีถัดมา โด ศาสตราจารย์ ดร.ชาร์ป (Lauriston Sharp) เป็นหัวหน้าโครงการ ผู้ร่วม งานประกอบด้วยนักวิชาการอเมริกัน และไทยรวม 12 คน ผลงานของนัก วิชาการอเมริกันที่ศึกษาชุมชนบางชันได้เริ่มตีพิมพ์งานในรูปของบ และหนังสือตั้งแต่ พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) เป็นต้นมา ผลงานที่สำคัญชนิดหนึ่งได้แก่บางชัน ประวัติศาสตร์สังคมของชุมชน ชนบทแห่งหนึ่งในประเทศไทย (Bang Chan : Social History of a Rural Commu-nity in Thailand, 1978) ซึ่งให้ความสำคัญด้านพลวัตและกระบวนการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมของบ้านบางชัน อำเภอบางกะปิ จังหวัดพระนคร (ชื่อขณะนั้น) โดยศึกษาย้อนขึ้นไปตั้งแต่การตั้งบ้านบางชันใ พ.ศ. 2383 (ค.ศ.1843 ตรงกับสมัยรัชกาลที่3) ถึงรา พ.ศ.2500 (ค.ศ. 1957) ในระยะแรกอยู่ในวงจำกัดแล้วค่อย ๆ ขยายวงกว้างและหลาก หลายมากขึ้นตามลำดับจนถึงปัจจุบัน
References
ขจร สุขพานิช.(2510). ฐานันดรไพร่ อนุสรณ์เนื่องในงานฌาปนกิจศพ นางพันสรรพกิจโกศล ณ วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ 6 ธันวาคม 2510.
จิตร ภูมิศักดิ์.(2518). โฉมหน้าศักดินาไทย กรุงเทพฯ : ชมรมหนังสือ แสงตะวัน.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา.(2548)แนวทางและวิธีวิจัยสังคม.
ไทย กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์ จำกัด.
นิธิ เอียวศรีวงศ์.(2525)วัฒนธรรมกระฎุมพีกับวรรณกรรมต้นรัตนโกสินทร์ วารสารธรรมศาสตร์ 11 (1).
ลินจง สุวรรณโภคิน.(2525)ชีวิตความเป็นอยู่ในกรุงสยามในทัศนะของ ชาวต่างประเทศระหว่าง พ.ศ. 2383-2384 กรุงเทพฯ : ธนประดิษฐ์การพิมพ์.
ประสาท หลักศิลา.(2514). สังคมวิทยา กรุงเทพฯ : ก้าวหน้า. ไพฑูรย์ เครือแก้ว.(2506). ลักษณะสังคมไทยและการพัฒนาชนบท
กรุงเทพฯ: การพิมพ์เกื้อกูล.
ไพฑูรย์ มีกุศล.(2539). “ลักษณะสังคมไทย” ในไทยศึกษา หน่วยที่ 6
สาขาวิชาศิลปะศาสตร์
นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
ลา ลูแบร์.(2510).จดหมายเหตุลาลูแบร์ ฉบับสมบูรณ์ พระนครโรงพิมพ์รุ่งเรืองรัตน์.
เสฐียรโกเศศ นามแฝง.(2515).ชาติ ศาสนา วัฒนธรรม พระนคร :
บรรณาคาร.
สุพัตรา สุภาพ.(2525). สังคมและวัฒนธรรมไทย กรุงเทพฯ :
ไทยวัฒนาพานิช.
สุเทพ สุนทรเภสัช.(2548). ชาติพันธุ์สัมพันธ์ : แนวคิดพื้นฐานทางม วิทยาในการศึกษา อัตลักษณ์ กลุ่มชาติพันธุ์ ประชาชาติ
การจัดองค์กรความสัมพันธ์ กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
อคิน รพีพัฒน์, ม.ร.ว..(2512). สังคมไทยในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
พ.ศ. 2325-2416 กรุงเทพฯ: มูลนิธิตตำราสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Landis, Judson,R.(1971).Sociology: Concepts and Characteris
tics. Belmont : Wadworth Publishing Company Inc.
Sharp, Lauriston and Hanks, Lucien M.(1978). Bang Chan Social History of a Rural Community in Thailand. Ithaca and London : Cornell University Press.
Robertson, Ian.(1977). Sociology. New York : Worth Publisher., Inc.
ผลงานนี้ยังไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน และจะไม่นำส่งไปเพื่อพิจารณาลงตีพิมพ์ในวารสารอื่น ๆนับจากวันที่ข้าพเจ้าได้ส่งผลงานต้นฉบับนี้และข้าพเจ้าได้ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาตรวจสอบความถูกต้องของ Abstract และบทความภาษาอังกฤษแล้ว